พระปิดตาเนื้อผงอัฐิ วัดโพธิ์ท่าเตียน เป็นพระเครื่องที่ผู้นำไปใช้บูชาติดตัวแล้ว ต่างมีเรื่องเล่าขานสืบต่อกันมามากมาย ในด้านประสบการณ์ต่างๆ พระรุ่นนี้มีชื่อเสียงโด่งดังมาตั้งแต่ครั้งสงครามอินโดจีน ช่วงปี ๒๔๘๐ กว่าๆ อันเป็นสงครามระหว่างไทยกับฝรั่งเศส ที่มีอาณานิคมอยู่ในอินโดจีน
พระปิดตาผงอัฐิ วัดโพธิ์ท่าเตียนพระปิดตาผงอัฐิ (ผงกระดูกผี)วัดโพธิ์ท่าเตียน
พระปิดตาผงอัฐิ วัดโพธิ์ท่าเตียน นับว่าเป็นพระดี ที่ผู้นำไปใช้บูชา ต่างมีเรื่องเล่าขาน
สืบต่อกันมามากในด้านประสบการณ์ต่างๆ พระรุ่นนี้นั้น มีชื่อเสียงโด่งดังมาตั้งแต่
ครั้ง สงครามอินโดจีนกำลังคุกกรุ่น ในช่วงราวๆปี พ.ศ. 2480 กว่าๆ สมัยสงครามอินโดจีน
อันเป็นสงครามระหว่างไทยกับฝรั่งเศส ที่มีอาณานิคมอยู่ในอินโดจีนนั้น ยุคนั้นทำให้เรา
ได้รู้จักพระเกจิอาจารย์ต่างๆ มากมาย รวมทั้งบรรดาวัตถุมงคลที่วัดหรือสมาคมต่างๆ ได้
สร้างขึ้นมา เพื่อแจกให้ทหารที่ออกรบด้วย
พอเสร็จสงครามอินโดจีน ก็เข้าสู่ยุคของสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุคนั้นก็มีพระเกจิอาจารย์
ต่างๆ อีกหลายท่าน ที่ได้สร้างวัตถุมงคลออกมาด้วย เนื่องจากตอนนั้นไทยได้ทำสัญญา
เป็นมิตรกับญี่ปุ่นอยู่กับฝ่ายอักษะ ทั่วประเทศไทยตอนนั้น จึงมีแต่ทหารญี่ปุ่นมาตั้งฐานทัพ
เต็มไปหมด ประเทศไทยจึงต้องทำสงครามกับฝ่ายพันธมิตรอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงทำให้
หลายแห่งในประเทศที่เป็นจุดยุทธศาสตร์ และเป็นที่ตั้งของกองทัพญี่ปุ่น ถูกเครื่องบิน
ของฝ่ายพันธมิตรทิ้งระเบิดระลอกแล้วละลอกเล่า จนสร้างความเสียหายให้กับสถานที่
และชีวิตผู้คนจำนวนมาก พระเกจิอาจารย์หลายท่านจึงได้สร้างวัตถุมงคลขึ้นมาแจกจ่าย
ทหาร ตำรวจอาสาสมัคร และประชาชน เพื่อเป็นขวัญ กำลังใจ และเป็นเครื่องรางของขลัง
สำหรับไว้ป้องกันตัว
กำเนิดพระปิดตาผงอัฐิ วัดโพธิ์ท่าเตียน
วัดโพธิ์ ท่าเตียน หรือที่มีชื่อเป็นทางการว่า วัดพระเชตุพนวิมลมังคลราม ก็เป็นสถานที่
แห่งหนึ่งที่ให้กำเนิดพระเครื่องขึ้นมา เพื่อแจกจ่ายให้ทหาร ตำรวจ อาสาสมัคร และ
ประชาชน เพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องรางป้องกันอันตรายจากภัยสงครามในครั้งนั้นด้วย
แต่วัตถุมงคลวัดโพธิ์ ท่าเตียน ไม่ได้มีการสร้างอย่างเป็นทางการแบบที่มีพระเกจิอาจารย์
หลายๆ ท่านมาช่วยกันปลุกเสก โดยเป็นการสร้างวัตถุมงคลโดยพระเกจิอาจารย์
เพียงท่านเดียว และเป็นการสร้างแบบเงียบๆ ค่อยเป็นค่อยไป
พระปิดตาผงอัฐินี้เป็นพระปิดตาที่กำเนิดโดย พระอาจารย์หนู แห่งสำนักวัดโพธิ์ ท่าเตียน
ซึ่งท่านพระอาจารย์หนู เป็นเกจิอาจารย์ชาวเขมร สร้างพระรุ่นนี้ขึ้นในราวปี พ.ศ. 2485
โดยสร้างจากผงอัฐิเถ้ากระดูก, ผงพระพุทธคุณ, ผงอิทธิเจและว่านอาถรรพ์ต่างๆ
ว่ากันว่าพระรุ่นนี้นั้น นอกจากห้อยบูชาจะดีเด่นทางด้านคงกระพัน แคล้วคลาดแล้ว
ยังให้โชคในด้านการเสี่ยงการพนันขันต่ออีกด้วย
ประวัติ พระอาจารย์หนู
พระอาจารย์หนู ท่านนี้ก็เป็นพระสงฆ์จากจังหวัดสุรินทร์ มีเชื้อสายเป็นชาวเขมร มีวิชา
อาคมแก่กล้า และเชี่ยวชาญทางวิทยาคมกับไสยศาสตร์มาก แม้อายุท่านจะไม่มากเท่าไหร่
แต่มีความศักดิ์สิทธิ์ทางคาถาอาคมจนเป็นที่ประจักษ์ และมีคนนับถือกันมาก นอกจากนี้
ท่านยังชอบเลี้ยงว่านด้วย ที่กุฎิของท่านจึงมีว่านต่างๆ หลายชนิดที่พระอาจารย์หนูได้เลี้ยงไว้
วิชาทางการแพทย์แผนโบราณ พระอาจารย์หนูท่านก็มีความชำนาญ สมัยนั้นที่กุฏิ
ของพระอาจารย์หนู จึงมีคนไปขอความอนุเคราะห์จากท่านอยู่บ่อยๆ บ้างก็ไปขอวัตถมงคล
บ้างก็ไปขอให้ท่านรดน้ำมนต์ บ้างก็ไปขอให้ท่านรักษาโรค ตอนที่ทหารญี่ปุ่นเข้ามา
ตั้งฐานทัพในประเทศไทยนั้น จึงมีเครื่องบินของฝ่ายพันธมิตรมาทิ้งระเบิดตามฐานทัพ
ของทหารญี่ปุ่น และตามจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญอื่นๆ การทิ้งระเบิดเป็นการทิ้งแบบปูพรม
และเครื่องบินก็บินสูง การทิ้งระเบิดจึงทำให้เกิดการพลาดเป้าหมาย ไปถูกบ้านเรือนของ
ประชาชนอยู่เป็นประจำ มีประชาชนเสียชีวิต และบาดเจ็บพิการ เพราะการถูกลูกหลงจาก
การทิ้งระเบิดกันเป็นจำนวนมาก พระอาจารย์หนู ท่านเกิดความสงสารประชาชนเหล่านั้น
ที่พลอยมารับเคราะห์ไปด้วย จึงได้ดำเนินการสร้างพระขึ้นมา เพื่อแจกประชาชนนำไป
ป้องกันอันตราย จากการทิ้งระเบิดด้วยตัวของท่านเอง
เนื่องจากพระอาจารย์หนูท่านมีความชำนาญในวิชาอาคมและไสยศาสตร์ การสร้าง
พระเครื่องของท่าน จึงได้ดำเนินการแบบพิสดารผิดไปจากการสร้างพระเครื่องของ
อาจารย์อื่นๆ ท่านไม่เอาวัสดุจำพวกโลหะ ผงวิเศษ หรือดินมาสร้าง แต่ท่านได้นำเอา
ขี้เถ้ากระดูกของคนตาย มาสร้าง การที่ท่านนำเอาขี้เถ้ากระดูกของคนตายมาสร้างพระเครื่อง
ก็คงเป็นเหตุผลของท่านเอง เนื่องจากขี้เถ้ากระดูกของคนตายนี้ ตามหลักของ
วิชาไสยศาสตร์ก็ถือว่าเป็นวัสดุอาถรรพณ์ชนิดหนึ่ง แต่การที่จะเอาขี้เถ้ากระดูกผีของคนตาย
มาสร้างวัตถุมงคลนั้นต้องเป็นคนที่มีวิชาอาคมแก่กล้าถึงจะทำได้ เพราะของแบบนี้ย่อม
มีแรงอาถรรพณ์อยู่ในตัว แต่ขี้เถ้ากระดูกที่พระอาจารย์หนู นำมาสร้างพระเครื่องนั้น
ก็ไม่ได้จำเพาะว่าจะจะต้องเป็นขี้เถ้ากระดูกของคนที่ตายโหง หรือตายวันเสาร์เผาวันอังคาร เท่านั้น
จะเป็นขี้เถ้าของกระดูกของคนตายแบบไหนก็ได้ ซึ่งสมัยนั้นคนตาย นิยมเผากันตามเชิงตะกอน
ในสมัยสงครามก็ยิ่งมีคนตายกันมาก ขี้เถ้ากระดูกของคนตาย จึงสามารถหาได้ง่าย แต่ก่อน
ที่จะเอาขี้เถ้ากระดูกมา พระอาจารย์หนูก็จะทำพิธีพลีกรรม ก่อนทุกครั้งตามวิชาที่ท่านเรียนมา
พระผงกระดูกผี ของพระอาจารย์หนู นอกจากจะสร้างจากขี้เถ้ากระดูกของคนตายแล้ว
พระอาจารย์หนูยังได้เอา ว่านโพง มาบดให้ละเอียดผสมเข้าไปด้วย สำหรับว่านโพงนี้มีชื่อ
เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ว่านกระสือ เชื่อกันว่าเป็นว่านที่มีอาถรรพ์และมีอิทธิฤทธิ์มาก มักขึ้นอยู่
ตามป่าลึก หากสัตว์พลัดหลงเข้าไปในป่าลึก บริเวณที่มีว่านอยู่ อาจถูกว่านดูดเลือดกินจนตายไป
ซึ่งว่านชนิดนี้อาจารย์ไสยศาสตร์ที่มีวิชาอาคมชอบเลี้ยงเพื่อไว้เฝ้าบ้าน การเลี้ยงว่านโพง
หรือว่านกระสือ นี้จะเลี้ยงยากกว่าว่านชนิดอื่น อย่างไรก็ตามแม้มวลสารที่ท่านพระอาจารย์หนู
นำมาใช้ในการสร้างพระปิดตานี้ดูจะเฮี้ยนๆ ดูน่ากลัว แต่ท่านได้ทำพิธีพลีกรรมถูกต้อง
ตามตำรับทุกประการ ทำให้ผู้ที่นำมาใช้กลับได้รับคุณอย่างเดียว เรื่องโทษ
ยังไม่เคยปรากฏ และผลที่ได้กลับแปลกคือ แรง และ เร็ว กว่าวัตถุมงคลอีกหลายชนิด
พุทธคุณจะแรงเร็วคล้ายๆกับเครื่องรางของขลัง แต่อย่างไรก็ดีผู้นำมาใช้ถ้ามีโอกาส
เมื่อขอสิ่งใดได้แล้ว ก็ควรทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้กับเจ้าของเถ้ากระดูกนั้นด้วย
สำหรับประสบการณ์ที่เล่าขานนั้น เป็นที่ประจักษ์แก่ทั้งทหารไทย และทหารญี่ปุ่น
เมื่อสมัยสงคราม จนมีคำเรียกติดปากกันในยุคนั้นว่า "ทหารผี"
ในสงครามเป็นที่กล่าวขาน ว่าทหารไทยโดนยิงล้มแล้วลุกขึ้นมาสู้ใหม่เพราะหนังเหนียว
นอกจากนี้ว่ากันว่าเมื่อบูชาแล้วจะเด่นมากในในด้านความปลอดภัย ป้องกันภัยดี เวลาเดิน
ทางไปไหน จริงๆไปเพียงคนเดียว แต่มีประสบการณ์เล่ากันมาว่า มีคนเห็นว่าเหมือนมีคน
มาหลายๆคน บางคนนั่งรถไปธุระพอลงจากรถมีคนถามว่า อ้าวแล้วคนที่มาด้วยไปไหนแล้วล่ะ..
ส่วนประสบการณ์ด้านอื่นเช่น การเสี่ยงโชคโดยเฉพาะนักเสี่ยงดวงเสี่ยงโชค ก็มักจะ
สำเร็จเหมือนมีคนมาดลจิต ใครชอบของแรงๆ พุทธคุณเด่นชัดเร็วๆก็ต้องบูชา
พระปิดตาสำนักนี้ รับประกันได้ว่าแขวนเดี่ยวประสบการณ์ชัดเจน
มีประสบการณ์ครบสูตรไม่ว่าจะคงกะพัน แคล้วคลาด เมตตามหานิยม
พระผงรุ่นนี้จึงนับว่าเป็นพระผงที่เปี่ยมด้วยประสบการณ์ เป็นของดีของขลัง ที่แรงได้ผล
ประจักษ์รวดเร็ว บางคนว่าได้ผลแรงเร็ว คล้ายๆกับการใช้เครื่องราง จึงเป็นที่นิยมมากขึ้น
ทุกขณะ อีกหน่อยจะหาพบได้ยาก ปัจจุบันที่เล่นหากันส่วนใหญ่ มักไม่ใช่ของแท้
ของแท้ของจริงต้องกดพิมพ์ได้ลึก ผิวพรรณ ความเก่า มวลสารเก่า ดูเข้มขลัง
2484 格督pee 骨灰必打 阿贊奴
2484第二次世界大戰,當時泰國士兵戴著格督pee出戰,在戰場上尤如打不死的戰士,勝利後士兵把格督pee送還給寺廟,但寺廟担心格督pee會落入不法之徒手中,所以把都份拋掉大海,而少數留在寺廟.
一般市場流存淺模較多,深模較少,所以值得收藏或佩戴
此聖物刀槍不入,人緣,事業,正財,橫財,辟邪,避險,擋災,健康,保平安
其原料中混有大量的骨灰又称鬼兵必打,所以这个牌的灵异事件很多。
特性收藏 人緣/姻緣 健康 提升智慧、權力 正財 偏橫財 成願/升運/轉運 擋官非/避小人 辟邪/避險/擋災/保平安
製作或開光年份2484 佛曆年
尺寸約4cmx3cm
來源及材料骨灰,廟泥,香灰,聖粉,植物灣
附帶經文沒有經文
寺廟wat pho督造
開光師父AJ NU
開光由師傅親自開光
此必打牌為阿贊奴(AC NOO)師父
在第二次世界大戰時期時所製作督製
此款與一般必打的造型不同竟為方型
一開始見到還以為是中國麻將中的五筒
後來得知此為特殊款必打
而且這個必打在馬來西亞是赫赫有名的麻將聖牌
相傳馬來人說戴了以後竟然把把自摸
而其原料中混有大量的骨灰
又稱鬼兵必打
所以靈驗程度可媲美龍普添的派古曼經粉
督製年代可比添大師的派古曼經粉來的久
但價格卻相對的便宜很多
而通常這面塊的品相都會有點兒模糊
上頭灰灰矇矇的
看起來好像發料
不過出寺時就已經是這樣子
但一直都有好的事蹟傳出,所以成為有名的老牌之一
若有人要問這塊牌是屬於寺廟的正牌或者陰牌
我想網路筆戰已久就不在此多述
反正收回來後也是躺在最底層的櫃子中沒拿起來戴過
甚至都忘記曾收過這面牌
又這個佛牌屬於第一或二期為阿贊奴所督製
另外還有第三期顏色偏黃褐色的款式為阿贊奴他弟子所做
那一批沒有直接加骨灰是加前期的碎牌
據知這批必打佛牌製作的時期恰好是戰爭時期
在泰國也有很多士兵在戰爭中犧牲
而有名的曼谷臥佛寺廟後方無人管裡的亂葬崗正是大批已故士兵的最後安息地
通常各大佛寺都會幫這些士兵超渡並且火化
當然臥佛寺也不例外
當時寺中的阿贊奴師父就將這些士兵集中起來超渡火化
師父當時想著如果將這些骨灰加入來製作佛牌
應該可以達到保護信眾的功用
而這種善念除希望配戴的信眾可以得到佛牌力量的保祐外
並且多做善事來迴向給這些亡魂
希望他們來世可以過著更好的生活
另外也有一種說法是
當時阿贊奴師父為了讓日後上戰場的士兵不要戰死沙場
於是將那些已經在戰爭中犧牲的士兵骨灰加入來製作佛牌
讓這些無法超度的士兵鬼能入靈在每一批每一塊佛牌裡面
又因為有所謂鬼兵的幫忙
可以讓上戰場的士兵即使在被包圍仍可以生還而得到更多保護
在戰爭結束後,很多人都把牌丟入海中或是交回給寺院化掉
留下的不多,現在反而少見,變成熱門的陰牌(鬼還是在裡面)。
泰國普遍認為此必打主要的功效為避險招人緣及招財
尤其以避險效果最為顯著
之前在泰國已經有許多靈驗事跡
無可否認的加入這些骨灰的佛牌確實會有更不可思議的力量
曾聽牌友轉述他的大馬牌商朋友說這類佛牌有人喜歡也有人害怕
因為牌商曾有一位牌友請供了一尊 不久就聽說他要出讓
且價格低于他當初請供的許多
原因在於他受不了看到鬼魂從佛牌爬出 非常害怕 所以虧錢脫手
另有一位台灣藏家也曾托該牌商找尋
請供之後有一天跟我說他確定這必打一定是真牌
原來他也遇到相同的情況
但因這位藏家不是第一次看到 倒也不覺有什麼
網路上更傳言
1.
去年二月 一位曼谷的上班族小市民
隨手買下了下面這塊牌放入公事包中帶回家
一到家中
他的母親就問他:「你帶什麼東西回家了?我看到有一個鬼跟在你的身邊」
當天夜晚,他的小孩沒有理由的哭鬧了整晚
第二天他趕緊將這面牌拿出去,轉讓給別人
2.
有一人因家住較偏僻的地方
夜晚回家時遇到搶匪
但當搶匪看到此人時卻一臉驚恐頭也不回的跑了
這搶匪很快的就被警察給抓到
而警察問他為什麼會有這反應
搶匪說他在那名被害人被後看到數張表情猙獰的臉孔
所以嚇到拔腿就跑
而當時那被害人身上就只有帶著這尊佛牌~
Good occasion to worship strong power amulet
100% Authentic from temple
Name: Phra Pidta Kradook (bone) Phee (ghost)
From: LP Nhu, Wat Phra Chetuphon, Bangkok
Year: B.E.2485 (C.E.1942)
Size: 2 cm x 2.7 cm
Material: LP Nhu created this powerful amulet from many holy mass such as powder from bone of corpse mixed with “Phong Bai Lahn (palm-leaves”) “Phong Itthi Jay” (holy powders) mixed with “Wahn Krasue” (magical herb) that hard to find.
Purpose for making: LP Nhu created the amulets because he wanted to help the disciples and people from dangerous and bad thing.
Ceremony: LP Nhu created Phra Pidta Kradook Phee followed ancient method and properly blessed with special magic for long time by himself. Moreover, before creating LP Nhu ask permission from spirit to create amulet.
Powerful: Phra Pidta Kradook Phee by LP Nhu has many supernatural powers such as protect worshiper from weapon, dangerous, black magic and bad thing. Moreover, Phra Pidta Kradook Phee by LP Nhu is well known in luck and wealth.
History of Wat Phra Chetuphon:
Wat Phra Chetuphon or Wat Pho as it is generally known to the Thais is mainly famous for the huge Reclining Buddha statue it houses. At 20 acres large, it is the largest Wat in Bangkok, and is technically the oldest too, as it was built around 200 years before Bangkok became Thailand's capital. However, today the Wat today bears virtually no resemblance to that originally constructed, as it was almost entirely rebuilt by Rama I when the capital was moved to Bangkok. It holds the dual honors of having both Thailand's largest reclining Buddha image and the most number of Buddha images in Thailand.
The highly impressive gold plated reclining Buddha is 46 meters long and 15 meters high, and is designed to illustrate the passing of the Buddha into nirvana. The feet and the eyes are engraved with mother-of-pearl decoration, and the feet also show the 108 auspicious characteristics of the true Buddha.
The large grounds of Wat Pho contain more than 1000 Buddha images in total, most from the ruins of the former capitals Ayuthaya and Sukhothai. The grounds are split in two by Chetuphon road. The northern section is generally the only one most people go to, and it includes a large bot (temple hall), enclosed by 394 bronze Buddha images. Outside the bot, there are 152 marble slabs depicting the second half of the epic Ramakian story. Also near here are four chedis, constructed to honor the first three Chakri kings (two for King Rama III). There are also a massive 91 others Chedis of varying sizes arounds the grounds, along with chapels, rock gardens, an array of different types of statues, inscriptions, belltowers and resident fortune tellers.
|