​ประวัติพ่อท่านเขียว กิตติคุโณ วัดห้วยเงาะ ต.ทุ่งพลา อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี
ประวัติพ่อท่านเขียว กิตติคุโณ วัดห้วยเงาะ ต.ทุ่งพลา อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี
ปัจจุบัน พระครูอนุศาสน์กิจจาทร หรือพ่อท่านเขียว กิตติคุโณ สิริอายุ 80 พรรษา 60 
หรือ พระครูอนุศาสน์กิจจาทร วัดอรัญวาสิการาม
ท่านเกิด: สิงหาคม พ.ศ.2472 ณ.ตำบลหน้าถ้ำ อ.เมืองจ.ยะลา
โยมบิดา : ชื่อนายทอง เพ็ชรภักดี
โยมมารดา : ชื่อ นางกิ๊ม  นวลศรี
ชีวิตวัยเด็ก : หลังจากจบ ป.4 ต้องออกจากบ้านหางานทำเลี้ยงแม่และน้องๆ เพราะบิดาท่านได้ถึงแก่กรรม
อุปสมบท : ณ พัทธสีมา วัดบุพนิมิตร(วัดนางโอ) อ.แม่ลาน จ.ปัตตานี
พระอุปัชฌาย์ : พระครูมนูญสมณการ วัดพลานุภาพ
ศึกษาธรรม : ศึกษาพระปริยัติธรรมและนักธรรม รวมทั้งในด้านการสวดมนต์พิธีต่างๆ โดยสามารถสวดพระปาฏิโมกข์ได้ตั้งแต่ ในพรรษาที่5 นอกจากนี้ยังศึกษาสรรพวิชาจากฆราวาสที่เชี่ยวชาญในด้านต่างๆ อีกหลายท่าน
สำหรับที่มาของฉายานาม "เทพเจ้าฝ่ายบู๊" ของพ่อท่านเขียว เพราะท่านได้ทำนายเหตุการณ์ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ไว้ก่อนล่วงหน้า พร้อมกับสร้างตะกรุดพิสมรหลวงปู่ทวด แจกพี่น้อง ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ก่อนมีเหตุการณ์ความไม่สงบ
 และตั้งแต่เกิดเหตุการณ์ ยังไม่มีผู้ใดแขวนเครื่องรางของขลังของพ่อท่านเขียว แล้วสังเวยชีวิตให้แก่เหตุการณ์ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้เลย แม้แต่คนเดียว ส่วนยิงไม่ออก ยิงไม่เข้า ยิงไม่ถูก  หรือแม้แต่โดนระเบิดไม่เป็นไร มีให้เห็นอยู่ทุกวัน
 
 พ่อท่านเขียว เกิดเมื่อ พ.ศ.๒๔๗๒ ต.หน้าถ้ำ อ.เมือง จ.ยะลา บิดาชื่อนายทอง เพ็ชรภักดี   มารดาชื่อ นางกิ๊ม เพ็ชรภักดี ถือกำเนิดในครอบครัวชาวนาใน จ.ยะลา เป็นบุตรคนที่ ๓ จากจำนวนทั้งหมด ๗ คน
 กระทั่งอายุได้ ๒๐ ปี จึงอุปสมบทตามประเพณีนิยม ณ วัดนางโอ ปัจจุบัน คือ วัดบุพนิมิตร อ.แม่ลาน จ.ปัตตานี เมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๔๙๒ ณ พัทธสีมา วัดนางโอ โดยมี พระครูมนูญสมณการ วัดพลานุภาพ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอธิการแดง ธมฺมโชโต วัดนาประดู่ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการทอง จนฺทโชโต วัดภมรคติวัน เป็นพระอนุสาวนาจารย์
 เมื่ออุปสมบทครองผ้าเหลือง พ่อท่านเขียว ได้จำพรรษาอยู่วัดนางโอ โดยท่านได้ใช้เวลาที่ว่างจากกิจของสงฆ์ เล่าเรียนการสวดมนต์ในบทสำคัญต่างๆ รวมถึงการสวดภาณยักษ์ในแบบฉบับของภาคใต้ ซึ่งปัจจุบันไม่ค่อยได้พบกันบ่อยนัก เหมือนก่อนแล้ว กระทั่งพรรษา ๒ ท่านได้ย้ายไปจำพรรษาที่วัดสุนทรบัญชาราม อ.รามัญ จ.ยะลา พรรษาที่ ๓ พ่อท่านเขียว ได้ย้ายกลับมาจำพรรษาที่วัดนางโออีกครั้ง ได้ศึกษาวิชาอาคมต่างๆ กับ “ตาเลี่ยม” ฆราวาสที่เชี่ยวชาญด้านวิปัสสนา อีกทั้งสรรพวิชาจากผู้เรืองพระเวทย์วิทยาคม ในเขตนั้นอีก จำนวนนับไม่ถ้วนซึ่ง
 ในทางธรรม ท่านปฏิบัติเคร่งครัด ศึกษาด้านปริยัติธรรมบาลีไวยากรณ์และนักธรรม รวมถึงการสวดมนต์ สาธยายธรรม  ด้วยเหตุนี้เอง พ่อท่านเขียวท่านจึงสามารถสวดปาฏิโมกข์ได้ตั้งแต่ในพรรษาที่ ๕ ท่านได้รับตำแหน่งรักษาการเจ้าอาวาสวัดนางโอ จนกระทั่งได้เป็นเจ้าอาวาสในลำดับต่อมา
 ในช่วงนี้เอง ที่ท่านได้เป็นสหธรรมมิกกับ พระครูวิสัยโสภณ (พระอาจารย์ทิม) เจ้าอาวาสวัดช้างให้ ด้วยความสนิทสนม ชอบพออัธยาศัย ไปมาหาสู่กันเสมอ ระยะทางระหว่างวัดทั้งสองไม่ไกลกันนัก โดยได้ร่วมสังฆกรรม สนทนาธรรมร่วมพิธีกรรมต่างๆ กันเสมอ
 โดยเฉพาะเมื่อคราวที่พระอาจารย์ทิม วัดช้างให้ สร้างพระหลวงปู่ทวด เนื้อว่าน รุ่นแรก เมื่อปี ๒๔๙๗ เพื่อแจกแก่ผู้ที่ร่วมสร้างอุโบสถ วัดช้างให้ นั้น พ่อท่านเขียว เป็นผู้หนึ่งที่ได้ร่วมงาน โดยคลุกเนื้อผสมว่าน และร่วมอยู่ในพิธีกรรมเจริญพุทธมนต์
 ระหว่าง ที่ท่านพระอาจารย์ทิมอัญเชิญดวงวิญญาณอันศักดิ์สิทธิ์ของหลวงปู่ทวด เพื่อปลุกเสกพระเครื่องเนื้อว่าน รุ่นแรก ในปี ๒๔๙๗ และร่วมพิธีกรรมปลุกเสกอีกหลายวาระ
 จนเมื่อพระอาจารย์ทิมท่านมรณภาพแล้ว ยังมีพิธีกรรมที่สำคัญอีก ๑ วาระ คือ พิธีปลุกเสกพระหลวงปู่ทวด เนื้อว่าน  รุ่นปี ๒๕๒๔ ปัจจุบันเป็นที่เสาะหากันมาก เพราะมีประสบการณ์คุ้มภยันตรายแคล้วคลาดปลอดภัย แก่ผู้ที่นับถือ
 นอกจากนี้ พ่อท่านเขียว ยังได้รับนิมนต์ไปปลุกเสกวัตถุมงคลต่างๆ ในหลายพิธีตลอดมา ทั้งไกลและใกล้ จนถึงปัจจุบัน
 ท่านพระอาจารย์ธีร์ เจ้าอาวาสวัดห้วยเงาะ ในเวลานั้น จึงได้มานิมนต์พ่อท่านเขียวไปอยู่ด้วยกันที่วัดห้วยเงาะ เนื่องด้วยพรรษาท่านมาก จะได้ดูแล และไม่ต้องพบกับภาระเหนื่อยหนักอีก
 พ่อท่านเขียวท่านเป็นพระสงฆ์ที่มัธยัสถ์ อดออม และรักสันโดษ ท่านชอบการอ่านหมั่นศึกษาหาความรู้ในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านกฎหมายบ้านเมือง การเกษตรกรรม โหราศาสตร์ สมุนไพรกลางบ้าน รวมถึงสิ่งที่เป็นประโยชน์ในอันที่จะนำไปสงเคราะห์ผู้อื่นได้
 พ่อท่านเขียว เป็นพระเถระผู้มีเมตตาสูงกับเหล่าศิษยานุศิษย์ และผู้ที่ไปขอให้ท่านเสกเป่าบรรเทาทุกข์ แก้ไขสิ่งที่ขัดข้องในชีวิต ท่านเมตตาเสมอเหมือนกันหมด ไม่ว่ายากดีมีจนมาจากไหน ไม่ว่าจะไกลหรือใกล้ โดยไม่แบ่งแยก ไม่เคยเรียกร้องสิ่งใด และท่านไม่จับหรือรับเงินที่มาถวายเลย พ่อท่านไม่เคยสนใจลาภสักการะต่างๆ ใครไปให้ท่านช่วย พอจะลากลับ หากถวายเงินท่าน พ่อท่านจะนิ่งเฉย และถามกลับว่า
 “เอามาให้เราทำไร เราเป็นพระ ไม่ต้องใช้ หากจะทำบุญ ก็เอาไปใส่ตู้บริจาคภายในวัดตรงไหนก็ได้”  
 นอกจากนี้แล้ว คำสอนหนึ่งที่ท่านชอบสอนทุกๆ คนที่ไปหาท่าน คือ ให้ทำดี ละเว้นชั่ว ตั้งมั่นในความซื่อสัตย์ กตัญญู อดออมทรัพย์สิน ใช้จ่ายอย่างประหยัด
 ที่สำคัญ คือ ท่านสอนให้เลิกใช้คำว่า “ทำมาหากิน” แต่ให้ใช้คำว่า “ทำมาหาไว้” แทน ในทำนองว่า ทำมาหาไว้ อย่ากิน อย่าใช้ จนหมด นั่นเอง
 พ่อท่านเขียว ได้ตั้งปฏิปทามั่นในการอยู่ในพื้นที่อันตราย จ.ปัตตานี โดยไม่คิดย้ายที่อยู่ไปแห่งใหม่ที่ปลอดภัยกว่า ทั้งๆ ที่ท่านไม่ได้มีภาระใดๆ (ท่านไม่ได้เป็นเจ้าอาวาส) ท่านยังคงอยู่เป็นขวัญกำลังใจของทหารหาญ และพลเรือนในพื้นที่นั้นต่อไป สั่งสอนธรรมะของพุทธองค์สืบไป

北大年府 Khok Pho 區 Thung Phla 分區懷雅寺 Than Khio Kittikhuno 的傳記
禮物 Phrakhru Anusart Kitchathorn或父親 Than Kheow Kittikhuno,80、60 歲
或 Phrakhru Anusart Kitchathorn阿蘭亞瓦斯卡拉姆寺
他出生於:1929 年 8 月在 Na Tham 分區。也拉省芒縣
父親的贖罪日:Thong Petchphakdi 先生的名字
Yommatern : 金暖里夫人的名字
童年:四年級畢業後,他不得不離開家找工作照顧母親和弟弟妹妹。因為你父親去世了
受戒 : Na Phatthasima, Bupanimit Temple (Wat Nang O), Mae Lan 區, 北大年
上師:Phra Kru Manun Samanakan, Wat Phalanupap
修法包括在祈禱儀式中由於能夠念誦五旬期的帕提摩卡,他還從許多專門從事各個領域的在家人那裡學習了各種科目。
對於暱稱的由來Than Khiao神父的“行動之神”因為他已經提前預知了南疆三省的事態。同時製作一支Luang Pu Thuat打固分發給南部邊境3省的兄弟姐妹。動亂前
 並且自從事件發生沒有人掛過Than Khiao神父的護身符。並為南部邊境三省的事件獻出生命甚至一個不開槍,不開槍,不開槍,甚至被炸都沒關係。每天都被看到

 Than Khiao 父親 1929 年出生於也拉省 Mueang 區 Na Tham 街道,父親叫 Nai Thong Petchphakdi,母親叫 Kim Petchphakdi 夫人,出生在也拉省的一個農民家庭,是外面的老三。人數。共7人
 直到他 20 歲,根據傳統,他於 1949 年 6 月 6 日在南澳寺的 Phatthasima 的 Wat Nang O(現為北大年府湄蘭區的 Wat Bupanimit)出家,由 Wat Phalanupap 的 Phra Kru Manun Samanakan 為和尚。法師Phra Achan Dang Thammachoto,Na Pradu 寺,是和尚,Phra Athikanthong,Janthachoto,Bhamokthiwan 寺,是一個護身符。
 當他被任命為黃袍時,Than Khieo 神父留在了 Wat Nang O。利用僧侶活動的空閒時間學習重要章節中的禱告。包括南方風格的巨人吟唱現在很少見面和以前一樣,直到大齋期的第二年,他才搬到了也拉省拉曼區的順通班查蘭寺。第三年,丹奇奧神父又搬回了南澳寺。與擅長內省的外行人「塔利亞姆」學習了各種魔法。此外,該地區所有崇拜 Witthayakom 的人的所有臣民,不計其數
 在佛法上,你嚴格修行。對佛法、巴利文語法和佛法的修行研究。包括為此念誦佛法Than Khiao 神父,他從大齋期第五年就能夠背誦帕提摩卡。直到成為下一個方丈
 正是在此期間,他與帕赫魯·維賽索芬(Phra Achan Tim) Wat Chang Hai 住持親密無間好客總是來看彼此兩座神殿之間的距離並不是很遠。通過參加聖餐無時無刻不在討論佛法,參加各種儀式。
 尤其是當1954年Wat Chang Hai的Phra Ajarn Tim建造了Luang Pu Thuat的第一個版本以分發給參與建造Ubosot,Chang Hai Temple的人時,Than Khiao神父是參加活動的人。將肉與蘆薈混合並參加了誦經儀式
 在Phra Ajarn Tim 召喚Luang Pu Thuat 的神聖靈魂期間。在 1954 年開光第一個版本的護身符並加入許多其他開光儀式
 直到帕阿姜提姆圓寂議程上還有另一個重要的儀式,即Luang Pu Thuat的開光儀式,Wan Nai,型號2524,現在是一個非常受追捧的地方。因為有安全感,避免危險對尊重的人
 此外,Than Khiao神父也應邀開光各種聖物。在很多儀式上無論遠近到現在
 你師父因此,當時懷雅寺方丈邀請丹喬神父到懷雅寺相聚。有了大齋期,他就可以照顧他,不用再背負重擔了。
 Than Khiao 神父是一個節儉、自給自足、隱居的僧人,他喜歡閱讀和學習各個領域的知識,無論是國家法律、農業、占星術、房子中間的草藥。包括可以用來幫助他人的有用的東西
 Than Khieo 神父是一位高僧,對弟子非常慈悲。以及那些請他念誦解脫苦痛的人解決生活中的問題你總是仁慈的。不管哪裡難,從哪裡來?無論遠近沒有歧視從不要求什麼他沒有抓住或接受所提供的錢。他的父親對各種財富從來不感興趣。誰去幫助你,你給錢就會離開你。你父親會保持沉默。又問
 “給我們做點事,我們是和尚,用不著用。如果你想做功德,你可以把它放在寺廟任何地方的布施箱裡。”
 此外一種他喜歡教給所有人的教義。向他求道者:行善、戒惡、正直、感恩、積財。經濟地消費
 重要的是,他教他停止使用“謀生”這個詞,而是使用“為它而生”這個詞,就像我為它而生的一樣,不要吃它,不要在它消失之前不要使用它。
 Than Khieo 神父已承諾留在北大年省的危險地區,而不會考慮搬到一個新的、更安全的地方,即使他沒有任何負擔。 (他不是方丈)他仍然是勇敢的士兵的士氣。和該地區的平民傳授佛法