หลวงพ่อทอง สุทธสีโล ศิษย์เอกพ่อคูณ แห่งวัดบ้านไร่ Ek Por Koon 的弟子 Thong Suttasilo 神父 Wat Ban Rai
ประวัติและปฏิปทา หลวงพ่อทอง สุทธสีโล
วัดบ้านไร่ อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา
◎ ชาติภมิ
หลวงพ่อทอง สุทธสีโล เกิดเมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๙๒ บิดาชื่อ นายบัว กล้าหาญ และมารดาชื่อ นางภู กล้าหาญ เดิมอยู่บ้านโนนสูง ต.วังหิน อ.ประทาย จ.นครราชสีมา
◎ ปฐมวัย
หลวงพ่อทอง ท่านเล่าว่า.. ท่านเกิดมาก็อาภัพ พ่อกับแม่แยกทางกัน ต้องไปอาศัยอยู่กับพ่อใหญ่แม่ใหญ่ (ตายาย) โดยไปอยู่พร้อมกับพี่สาวชื่อนางบุญตา(เสียชีวิตแล้ว) ต่อมาแม่ก็มาเสียชีวิตลง ทำให้ไร้ที่พึ่งตั้งแต่วัยเด็ก ดีที่ตาเที่ยงกับยายเทียม ให้ความรักใคร่หลานทั้ง ๒ คน ชีวิตวัยเด็ก ไม่ได้สนุกสนานเหมือนเด็กในวัยเดียวกัน ต้องทำนาและเลี้ยงควาย ช่วยตากับยายซึ่งแก่ชราแล้ว มีวันหนึ่งที่ หลวงพ่อซุกซนปืนขึ้นไปเล่นบนกิ่งไม้ แล้วหักลงมาถูกคันนา หัวแตกจนเป็นรอยแผลเป็นทุกวันนี้
เมื่อจบชั้น ป.๔ จาก ร.ร.วัดบ้านโนนสูง ต.วังหิน อ.ประทาย จ.นครราชสีมา หลวงพ่อทองต้องเร่ร่อนตามน้าบ่าว (น้องชายแม่) ไปรับจ้างทั่วไป ทั้งทำนาหรือเกี่ยวข้าว ได้ค่าจ้างวันละ ๕ บาท เพื่อมาใช้จ่ายจุนเจือในครอบครัว เพื่อหารายได้เสริม เพราะพ่อใหญ่แม่ใหญ่อายุมากแล้ว แต่ครั้งที่ท่านลำบากที่สุดในชีวิตส ก็คือการติดตามคนในหมู่บ้าน ไปรับจ้างตัดฟืน ที่อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา (เผาถ่านส่งขายนายทุน) ช่วงนั้นต้องอยู่กินอย่างอดๆ อยากๆ ต้องไปเซ็นข้าวพริกหรือปลาทูเค็มมากินถึงเวลาขายฟืนและเผาถ่านได้ เค้าก็หักเงินไป การไปรับจ้างตัดฟืนและเผาถ่านครั่งนั้น หลวงพ่อทองท่านต้องล้มป่วยลง ด้วยเป็นไข้ดง (มาเลเรีย) ท่านถูกส่งมารักษาตัวอยู่ที่โคราช เมื่อหายดีก็ไปทำงาน รับจ้างเฝ้าสวนมะม่วงให้เจ้านาย ที่หัวทะเล (ใกล้กับป่าช้าจีน จ.นครราชสีมา)
เมื่อถึงอายุ ๒๑ ปี ท่านผ่านการเกณฑ์ทหาร จับได้ใบดำ จึงคิดออกบวช ทดแทนบุญคุณพ่อแม่ (แม้นว่าท่านจะสิ้นไปแล้ว) แต่ปัญหาก็คือ ไม่มีเงินแม้นแต่จะซื้อผ้าไตรจีวร ดีที่มีญาติของเจ้านาย เป็นครูที่ ร.ร.ราชสีมาวิทยาลัย รับเป็นเจ้าภาพ จัดซื้อเครื่องบวชให้ ท่านว่าบุญคุณครั้งนี้ ท่านไม่เคยลืมจำได้กระทั่งลูกหลาน ของผู้มีพระคุณ
◎ อุปสมบท
หลวงพ่อทอง เข้าพิธีอุปสมบทที่วัดสระแก้ว อ.เมือง จ.นครราชสีมา เมื่ออายุครบ ๒๒ ปี พ.ศ.๒๕๑๔ หลวงพ่อทอง สุทธสีโล ก็ได้มาจำพรรษาอยู่วัดศรีแก้ว อ.เมือง จ.นครราชสีมา พ.ศ.๒๕๑๔ ขณะนั้นมี หลวงพ่อแถว เป็นเจ้าอาวาสวัด ส่วนหลวงพ่อคูณ เป็นพระลูกวัด หลวงพ่อคูณได้เห็นหลวงพ่อทอง เป็นพระที่มีอัธยาศัยดี เงียบขรึม ไม่ค่อยพูด ไม่ค่อยค่อยจา มีความนอบน้อมอ่อนโยน เป็นพระที่เรียบร้อย และมีความตั้งใจในการทํากิจเป็นอย่างมาก หลวงพ่อคูณ จึงได้ถ่ายทอดวิชาและพระคาถารวมไปถึงการจารอักขระต่างๆ ในตะกรุด และยันต์ ก็เลยนับกันเป็นศิษย์ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา หลวงพ่อคูณไปไหนก็จะนำพาหลวงพ่อทองไปด้วย ศิษย์หลวงพ่อคูณมีอยู่ทั่วประเทศ แต่ที่ถ่ายทอดวิชา ให้และรับเป็นศิษย์เอกก็คือ “หลวงพ่อทอง สุทธสีโล”
ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๑๗ หลวงพ่อคูณ เห็นว่า “หลวงพ่อทอง สุทธสีโล” ควรแล้วที่จะต้องนําวิชาที่มีออกมาใช้บําเพ็ญประโยชน์ จึงได้ให้ร่วมปลุกเสก เหรียญ หลวงพ่อคูณ ปี พ.ศ.๒๕๑๗” ซึ่งในปัจจุบัน เหรียญหลวงพ่อคูณ ปี พ.ศ.๒๕๑๗ นี้ เป็นที่ต้องตาต้องใจเหล่าเซียนพระเป็นอย่างยิ่ง

หลวงพ่อคุณ ปริสุทโธ และหลวงพ่อทอง สุทธสีโล
“หลวงพ่อทอง สุทธสีโล” คือพระที่หลวงพ่อคูณไว้วางใจมากที่สุด จนถึง ปี พ.ศ.๒๕๓๓ หลวงพ่อคูณ เห็นว่า วัดพระพุทธบาทเขายายหอม ต.นายางกลัก อ.เทพสถิต จ.ชัยภูมิ เป็นวัดที่เรียบสงบร่มเย็น เหมาะอย่างยิ่งที่จะฝึกสมาธิและเจริญภาวนา จึงได้ส่งหลวงพ่อทองไปจําพรรษาที่วัดพระพุทธบาทเขายายหอม ทั้งนี้ หลวงพ่อคูณ ก็ยังให้ลูกศิษย์นําตะกรุดทองคําฝังแขน ตะกรุดโทน รวมไปถึงตะกรุดชายจีวร ไปให้หลวงพ่อทองลงเหล็กจารอักขระ ถึงบนวัดพระพุทธบาทเขายายหอม เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
◎ พระจะขลังหรือไม่ขลัง เขาวัดกันตรงไหน?
หลวงพ่อทอง ท่านว่า.. ลองสังเกตุดู ทำไมพระที่สร้างสมัยก่อน ถึงได้ขลังนัก เพราะคนสร้างมีเจตนา”ซื่อตรง” สร้างพระด้วยความศรัทธา การจะสร้างพระ ขึ้นมาแต่ละครั้ง ล้วนมีวาระสำคัญ เจตนาการสร้าง ส่วนใหญ่ก็เพื่อแจกจ่ายกัน ในเหล่าบรรดาลูกศิษย์ หรือคนที่มาร่วมทำบุญ ไม่ได้สร้างเพื่อเชิงการค้า หรือพุทธพาณิชย์ เหมือนทุกวันนี้
จำนวนการจัดสร้าง ก็ไม่ได้มากน้อย เอาแต่พอเพียง พอแต่ได้แจกจ่ายกัน หรือเหลือไว้ให้วัด ทำบุญนิดหน่อย (ใครมาทำบุญ ก็ได้รับแจกเหรียญ ที่เหลือจากการแจกจ่าย ในโอกาสหรือวาระสำคัญ ของการสร้างเหรียญนั้นๆ)
เมื่อเรียนถาม หลวงพ่อทองเกี่ยวกับการจัดสร้างวัตถุมงคล ที่มีออกมาเป็นระยะๆ หลวงพ่อทองท่านว่า แม้นไม่ได้อนุญาต ให้จัดสร้าง แต่เมื่อเค้านำมาให้เสก ก็ต้องเสกให้ ด้วยความเมตตา ซึ่งคนส่วนใหญ่ ไม่เข้าใจ ว่าแต่ หลวงพ่อทองสร้างพระ ซึ่งจุดนี้ก็แล้วแต่คนจะเข้าใจ เราคงไม่สามารถ ไปห้ามเค้าได้ ส่วนการปลุกเสกนั้น หลวงพ่อทองจะเน้นด้านเมตตา เพราะหากคนเรา มีเมตตาต่อกัน ทุกอย่างก็ดีหมด ไม่ต้องไปเจ็บตัว เข้าหาผู้อื่นก็ง่าย
เมื่อเรียนถามถึงเรื่องการเสกหมู่กับเสกเดี่ยว อันไหนจะขลังกว่ากัน ท่านว่าการเสกหมู่ ก็เหมือนพระไปบวชในโบสถ์ มีพระหลายรูปช่วยสวดสำเร็จ เป็นองค์พระได้เลย ส่วนการเสกเดี่ยว ก็เหมือนการบวชชีพรามณ์ ค่อยปฏิบัติไป ก่อนจะสำเร็จเป็นพระ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ก็ขึ้นอยู่กับว่า คนที่นำไปห้อยเป็นคนดีแค่ไหน
เมื่อเรียนถาม หลวงพ่อทอง ว่าท่านชอบเสกแบบไหน ท่านว่าชอบแบบพิธีพุทธาภิเษก คือมีพระมาสวด คาถาพุทธมนต์ต่างๆ เพื่อขอบารมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ให้มาช่วยประสิทธิ์ประสาท ความเข้มขลังในวัตถุมงคลนั้นๆ ส่วนการนิมนต์เกจิอาจารย์ มาร่วมพิธีเสกนั้นๆ ท่านว่าไม่จำเป็น สมัยก่อนก็ยังเสก แค่องค์เดียว (นี่ก็เป็นทัศนะ ที่เคยรับฟังจากปาก หลวงพ่อทอง ที่อยากจะนำ มาถ่ายทอดให้รับทราบ ร่วมกันครับ)
เรื่องแบบนี้ มันเป็นเรื่องที่เข้าใจยาก วัดกันลำบาก ก็แล้วแต่ความเชื่อของแต่ละบุคคล ผมเองก็ต้องทำใจ ลำบากเหมือนกัน ที่เขียนเรื่องทำนองนี้ แต่ก็จำเป็นต้องเขียน เพื่อเผยแพร่ เป็นวิทยาทานครับ (เคยโดนโจมตีเหมือนกัน เมื่อนำเรื่องประสบการณ์ ในวัตถุมงคลของ หลวงพ่อทองมาเล่า แม้นว่าจะเขียนคำเตือนแล้วว่า โปรดฟังโดยใช้วิจารณญาณ)
เรื่องการขอบารมี เคยกราบเรียนถามหลวงพ่อทองว่า ทำไมท่านไม่ขอบารมี หลวงพ่อทองคูณ ช่วยเสกตะกรุด เสกเหรียญ ที่ท่านสร้างท่านทำ (แบบว่าอยากได้ขลังเพิ่มขึ้น) หลวงพ่อทองให้คำตอบว่า ฉันก็เรียนมาเหมือนกัน ถ้าไม่มั่นใจ ไม่ให้ทำเหรียญขึ้นมา ส่วนจะไปขอองค์ไหน ให้ช่วยเสกให้นั้น ท่านว่า”ชาติเสือ ไม่ขอเนื้อใครกิน” ที่คือคำพูดของหลวงพ่อทอง ท่านได้เล่าไว้เมื่อกลางปี พ.ศ.๒๕๕๔
◎ ตำนานประวัติรอยพระพุทธบาทเขายายหอม
รอยพระพุทธบาทเขายายหอม เดิมชื่อ รอยพระพุทธบาทเขายายเหมีน ได้เปลี่ยนชื่อนับตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๐๐ เป็นต้นมา รอยพระพุทธบาทเขายายหอม ตั้งอยู่ใน อ.นายางกลัก อ.เทพสถิต จ.ชัยภูมิ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๙๒ ท่านพระครูมนูญชัยกิจ ได้พาพระภิกษุสามเณรออกเดินธุดงค์มาทางตําบลนายางกลักและได้พบตาขำอายุ ๗๐ ปี กับนายหมี อายุ ๓๕ ปี คนบ้านวังตาท้าว มากราบนมัสการ ตาขำเล่าถวายว่า ไม่นยอดเขายายเหม็น มีรอยเท้าคนใหญ่ปรากฎอยู่ ส่วนนาย หมีก็เล่ายืนยันว่ามารดาของตนเคยเล่าว่าให้ฟังว่า ตอนที่ยายของนายหมียังเล็กอยู่ ได้ติดตามผู้ใหญ่ขึ้นไปบนยอดเขายายเหม็น ได้เห็นรอยเท้าคนใหญ่อยู่พลาญหิน ข้างบ่อเตาทอง รอยใหญ่มาก
ต่อมาได้มีชาวบ้าน (ชาวมอญโบราณ) ที่มาทํากิน ขึ้น-ลงบนเขาอยู่เนืองๆ ได้เห็นช้างเก็บดอกไม้มาวางบริเวณนี้บ่อยๆ จึงพากันค้นหา จนพบรอยเท้าคนใหญ่เข้าก็เกิดความกลัวว่าถ้าทางหน่วยงานราชการมาพบเข้าจะทําให้พวกตนเข้ามาทํามาหากินที่นี่ลำบาก จึงพากันทุบต่อยรอยเท้าให้แตก จุดไฟเผา และนําต้นสลักไดมาปลูกเพื่อปกปิดไม่ให้ใครพบเห็น
ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๙๓ พระครูมนูญชัยกิจ ทราบเรื่องราวรอยพระพุทธบาทบนเขายายเหม็น ซึ่งได้มีหนังสือเรียนไปยังท่านพระครูพินิจสมณวัตร (คง ชาลีวรรณ) เจ้าคณะกิ่งอำเภอบําเหน็จณรงค์ วัดเพ็ชรภูมิสุวรรณ ในสมัยนั้น และได้เรียกประชุมญาติโยมบ้านชวน บ้านวังเสมา และอำเภอจัตุรัส ออกสํารวจค้นหาจนพบรอยพระพุทธบาท นิ้วเบื้องซ้ายพระบาทและปลายนิ้วเรียบเสมอกัน หันปลายนิ้วพระบาทไปทางอาคเนย์ ท่านพระครูพินิจสมณวัตร (คง ชาลีวรรณ) ลงมือวัดตรวจสอบความยาว ๑๘๐ เซนติเมตร ความกว้าง ๗๕ เซนติเมตร ความลึก ๔๕ เซนติเมตร ลักษณะหินรอยพระบาทมีสีแดง ด้านซ้ายแตกตามง่ามนิ้วพระบาท
พระครูพินิจสมณวัตรฯ จึงได้ร่วมกับญาติโยมในอําเภอจัตุรัสและกิ่งอำเภอบําเหน็จณรงค์ ทำทางพอเป็นถนนให้ขึ้น-ลงได้ และยกที่นี้เป็นวัดพระพุทธบาท เขายายเหม็น สงวนอาณาเขตกว้าง ๑๐๐ เส้น ยาว ๑๐๐ เส้น มีเนื้อที่ประมาณ ๑๐,๐๐๐ ไร่ เมื่อทําถนนเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงร่วมบอกบุญกับญาติโยม จัดงาน นมัสการรอยพระพุทธบาทขึ้นเป็นงานประจําปี ตรงกับวันขึ้น ๑๑ ค่ำ จนถึงวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๓ ซึ่งตรงกับวันมาฆบูชาของทุกๆ ปี
แม่ชีพราหมณ์ ขวัญตา วัดพระพุทธบาทเขายายหอม เล่าให้ฟังว่า ในวันที่ ๓๑ สิงหาคมของทุกปี ศิษยานุศิษย์ของหลวงพ่อทอง ทั้งใกล้และไกลทั่วทุกสารทิศ จะเข้ามาทําบุญคล้ายวันเกิดของหลวงพ่อทอง และเมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๕ ทางคณะกรรมการวัดพระพุทธบาทเขายายหอม ใด้ทําพิธีพุทธาภิเษกเหรียญรุ่น ๒ (รุ่นบารมี) เหรียญเต็มองค์รุ่นแรก หลวงพ่อทอง สุทธสีโล และเป็นวันคล้ายวันเกิดของหลวงพ่อทอง สิริอายุ ๖๓ พรรษา โดยมี พล.อ.เสริมศักดิ์ วิเศษไชยศรี ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง มาเป็นประธานในที่นี้ด้วย

ปัจจุบันนี้ หลวงพ่อทอง สุทธสีโล ได้กลับมาปฏิบัติธรรม ณ วัดบ้านไร่ ตามรอยอาจารย์ของท่าน ซึ่งก็คือ หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ ท่านมีอายุ ๗๒ ปี พรรษา ๕๐ (พ.ศ.๒๕๖๕)
ที่มา : ขอขอบคุณข้อมูลจากเพจ บารมีหลวงพ่อทอง สุทธสีโล

Luang Phor Thong Sutasilo 的歷史和工作
呵叻府 Dan Khun Thot 區 Ban Rai Temple
◎ 民族
Luang Por Thong Sutthasilo 出生於 1949 年 8 月 31 日,父親名叫 Bua Klaan 先生,母親名叫 Phu Klaan 夫人,原住在呵叻府 Prathai 區 Wang Hin 街道 Non Sung 村。
◎ 初級
Luang Pho Thong,他說..你生來不幸爸爸媽媽分開了不得不與父親和母親(祖父母)一起生活,與一位名叫 Boonta 的姐姐(已故)住在一起。後來,她的母親去世了。從小就無助擅長 Ta Noon 和奶奶 Thiam給兩個孫子的愛。童年的生活沒有同齡的孩子那麼有趣。必須耕種和飼養水牛幫助年邁的爺爺奶奶。有一天,頑皮神父拿著槍上去在樹枝上玩耍。然後分解並觸動了kanna今天,他的頭被砸傷了。
Luang Por Thong 在呵叻府 Prathai 區 Wang Hin 分區 Wat Ban Non Sung 學校完成四年級後,不得不與包阿姨(母親的兄弟)一起流浪,擔任總承包商。無論是耕作還是收割每天獲得 5 泰銖的工資來養家糊口。賺取額外收入因為父母都老了但你一生中最艱難的時刻就是跟著村里的人去呵叻府Sikhio區打柴(燒木炭賣給資本家)。那段時間,我們必須像明星一樣生活和吃飯。我們必須用辣椒或鹽漬鯖魚簽飯吃。是時候了賣柴燒炭。他扣錢受僱砍柴燒炭Luang Pho Thong,他病倒了。患有鵝口瘡(瘧疾),他被送往呵叻治療。康復後,他就去上班了。聘請在華塔萊(華人公墓附近)為老闆看守芒果園。呵叻)
21歲那年,他通過了兵役,抓到了一張黑牌,於是決定出家代替父母的功德。 (即使你走了),但問題是我什至沒有錢買長袍。老闆的親戚是Ratchasima Wittayalai學校的老師,這很好。主持人購買和尚這次你說謝謝你永遠不會忘記記住你的孫子。恩人的
◎ 出家
1971年22歲的龍波通蘇塔西洛神父在呵叻府孟縣Wat Sa Kaeo參加了出家儀式。1971年,Luang Por Thong Suttasilo來到呵叻府孟縣Wat Sri Kaew居住是寺廟的住持Luang Por Thaew。坤神父和尚昆神父見到了 Luang Pho Thong他是一個心地善良的和尚,安靜,很少說話,很少說話。謙遜一個整潔的和尚龍婆坤事業心大,因此傳授了科目和咒語,包括打固和揚持中的各種文字的銘文,因此自此都被視為弟子。無論孔神父走到哪裡,他都會帶上Luang Pho Thong。 Luang Pho Koon 的弟子遍布全國。但轉移作為弟子的給予和接受是“Luang Por Thong Sutthasilo”
1974 年晚些時候,Luang Por Koon 看到“Luang Por Thong Sutthasilo”應該能夠帶出服務對象。因此,我們必須在 1974 年開光 Luang Por Koon 的錢幣”。這枚 1974 年 Luang Phor Koon 的硬幣是僧侶信徒的必看之物。
Khun Parisuttho 神父和 Thong Suttasilo 神父
“Luang Por Thong Suthasilo”是 Luang Por Koon 最信任的護身符。直到 1990 年,Luang Por Koon 才看到猜也蓬府 Thep Sathit 區 Na Yang Klak 分區的 Wat Phra Phutthabat Khao Yai Hom 是一座光滑的寺廟。它非常適合冥想和冥想。因此,Luang Por Thong 被派往 Wat Phra Phutthabat Khao Yai Hom 度過佛教大齋期。然而,Luang Por Koon 也讓他的弟子埋葬了金打固、音打固和長袍打固。去 Luang Pho Thong 刻字。到達 Phra Phutthabat Khao Yai Hom 寺到目前為止
◎ 和尚會魔法還是不魔法?它們在哪裡測量?
Luang Pho Thong 說。。我們來看看過去的僧侶為什麼建如此神奇因為創造者有“誠實”的意圖,以信仰創造護身符。修道士每次上來他們都有重要的議程。創作意圖其中大部分用於分發。弟子之間或來做功德的人不用於商業目的或佛教廣告好像今天
內部編號不多正好但分佈式或留待測量做一點功德(來做功德的人會得到一個硬幣分配剩餘在重要場合或議程上製作那枚硬幣)
學習的時候Luang Pho Thong 關於聖物的創作定期出現Luang Pho Thong 說儘管他們不被允許建造它,但是當他們把它帶到開光時,他們必須以善意的方式開光它。大多數人不明白,但 Luang Por Thong 建造了護身符在這一點上,這取決於人們的理解。我們可能不能可以禁止他至於奉獻Luang Pho Thong 將專注於慈悲。因為如果我們互相憐憫一切都是好的不必受傷很容易接近別人。
當被問及團體魔術和單魔術時哪個更神奇?他說咒語這就像一個和尚去教堂出家一樣。有許多僧侶幫助祈禱成功。你可以成為神單個鑄件這就像拉曼戒律。採取行動出家之前但儘管如此這取決於把它掛起來的人有多好?
學習的時候,問問Luang Por Thong他喜歡什麼樣的魔法。他說他喜歡 Puttapisek 儀式。有一個和尚祈禱各種佛教咒語祈求聖者的祝福幫助 Prasit 神經那個神聖物體的魔法強度至於上師的邀請出席儀式你不必過去,仍然只有一個魔術師(這是一種觀點我從 Luang Por Thong 口中聽說,我想一起傳達給你。)
這種事情很難理解,也很難衡量,取決於個人的信仰。我必須下定決心也很難誰寫了這樣的故事但有必要為出版而寫作。 (也被攻擊過在帶來經驗時在神聖的對象Luang Pho Thong 前來告知。即使警告是這樣寫的請仔細聽。)
關於祈求祝福我曾經表示敬意並問Luang Pho Thong是否為什麼不求祝福?通昆神父幫助變出打固,變出你製作的硬幣。 (就像你想要更多的護身符一樣)Luang Por Thong 回答說我也學會了。如果你不自信,就不要造硬幣。你會去哪裡問?幫助變出他說“虎國我不要求吃肉。”這是Luang Por Thong的話。他是在 2011 年年中說的。
◎ 佛腳印傳 考艾坎
佛腳印Khao Yai Hom,原名Khao Yai Men's Footprint自 1957 年起更名。佛腳印 Khao Yai Hom 於 1949 年位於猜也蓬府 Thep Sathit 區的 Na Yang Klak 區。 Phra Kru Manoonchaikit帶著僧人和沙彌到Na Yang Klak街道朝聖,遇到了70歲的Tawny和35歲的Ban Wang Ta Thao村民Mee先生。前來朝拜眼睛告訴他不在臭奶奶的山上。有一個大人物的腳印,而米先生證實他的母親已經告訴他了。 Mee先生的祖母年輕時跟著長老們登上了金克奶奶山頂在岩石上看到了一位偉人的腳印在陶通池旁邊,缺口很大。
後來,村民(古孟族)來做飯的,經常上下山我經常看到大象收集鮮花並將它們放在這個區域。所以他們搜索直到找到大人物的腳印,他們才怕政府機關來找他們,他們就很難來這裡謀生了。於是,他們對腳印拳打腳踢,放火焚燒,並種下色拉代樹遮蓋,不讓任何人看到。
年末 2493 帕克魯 Manoonchaikit了解佛陀足跡在考艾康區的故事其中有一本教科書給巴姆奈特納隆區的神職人員 Phrakru Phinit Samanawat (Khong Chaliwan) Wat Petchraphum Suwan 在那些日子裡召集了班川、班旺色瑪和廣場區的親戚會面。探索和搜索,直到找到佛陀的腳印。國王腳的左手手指和指尖均勻光滑。將國王的腳尖轉向東南Phrakhru Phinit Samanawat(Khong Chaliwan)檢查了長180厘米,寬75厘米,深45厘米。石頭的腳印是紅色的。左側被國王的手指胯部折斷。
Phrakhru Phinit Samanawat因此,連同在廣場和Bamnet Narong街道的親戚使足夠的道路能夠上下。並將這個地方提升為Wat Phra Phutthabat,Khao Yai Kham,保留了100線寬,100線長的領土,面積約為10,000萊。因此,他們與親人結盟,每年組織一次祭祀佛腳的活動。對應月圓第11天到農曆3月第15個滿月日,對應於每年的Makha Bucha日
Mae Chee Ram Kwanta, Wat Phra Phutthabat Khao Yai Hom告訴我在每年的 8 月 31 日Luang Pho Thong的弟子遠近四方會來造功德,類似於 Luang Pho Thong 的生日2012 年 8 月 31 日,Wat Phra Phutthabat Khao Yai Hom 委員會誰為第二代硬幣(Premier Edition),第一個完整的護身符Luang Por Thong Suttasilo舉行開光儀式,這也是一個生日
目前,Thong Suttasilo 神父已回到班萊寺修持佛法,追隨他的老師 Khun Parisuttho 神父。他今年 72 歲,50 歲(B.E.
來源:感謝您提供頁面上的信息。 Luang Pho Thong Sutthasilo 的聲望