หากกล่าวถึงหลวงพ่อรวย แห่งวัดตะโก ถือได้ว่าเป็นพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงอีกองค์หนึ่งในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นที่นับถือของผู้คนในพื้นที่ภาคกลาง และพื้นที่ทั่วประเทศไทยที่เคารพศรัทธาเป็นอย่างมาก เพราะท่านถือได้ว่าเป็นพระเกจิอาจารย์ที่เปี่ยมด้วยเมตตาธรรมสูง มีความเป็นอยู่สมถะ รวมทั้งศีลาวัตรปฏิบัติอันงดงาม ควรแก่การศรัทธาและเคราพอย่างยิ่ง
ประวัติ ชาติภูมิ หลวงพ่อรวย ถือกำเนิดเมื่อ พ.ศ.2464 เป็นบุตรคนที่ 6 ในจำนวนพี่น้องร่วมอุทรเดียวกัน 8 คน (ชาย 3 หญิง 5) ของคุณโยมบิดา ชื่อ มี โยมมารดา ชื่อ สินลา ศรฤทธิ์ (บรรพบุรุษของสกุลศรฤทธิ์นี้ เป็นเชื้อสายชาวกรุงศรีสัตนาคนหุต) ณ บ้านตะโก หมู่ที่ 2 ต.ดอนหญ้านาง อำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ชีวิตในปฐมวัยมีความเป็นอยู่เหมือนๆ กับเด็กในชนบททั่วไป คือได้ช่วยเหลือพ่อแม่ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรอันถือได้ว่า เป็นเมืองอู่ข้าว อู่น้ำ มาแต่บรรพชน ทั้งช่วยเหลือเลี้ยงดูเลี้ยงสัตว์ เช่น วัว กระบือ มาโดยตลอด
ส่วนด้านการศึกษาเมื่อท่านอายุได้ 12 ปี ได้เข้ารับการศึกษาเบื้องต้น ในโรงเรียนวัดตะโก เพราะเด็กๆ ในสมัยนั้นยังไม่มีโรงเรียนประถมศึกษาของทางราชการในละแวกพื้นที่ตำบลดอนหญ้านาง ต้องอาศัยพระสงฆ์เป็นครูสอนบนศาลาการเปรียญของวัด จนมีความรู้อ่านออกเขียนได้ มีความรู้เทียบได้ชั้นประถมปีที่ 4 ก็ออกจากโรงเรียน
เมื่อท่านอายุ 16 ปี ได้บรรพชาเป็นสามเณรที่วัดตะโก โดยมีพระสมุห์บุญช่วย เจ้าอาวาสเป็นพระอุปัชฌาย์ ในที่ครองเพศพรหมจรรย์ ท่านได้ตั้งใจศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยในด้านพระคันถธุระ (พระปริยัติธรรม) สามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี
และเมื่อท่านอายุครบบวช ราวปี พ.ศ.2484 ก็อุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดตะโก โดยมีพระครูสุนทรธรรมนิวิฐ (หลวงพ่อชื่น) เจ้าอาวาสวัดภาชี เจ้าคณะอำเภอภาชีเป็นพระอุปัชฌาย์ พระปลัดจ้อย เจ้าอาวาสวัดวิมลสุนทร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระสมุห์บุญช่วย เจ้าอาวาสวัดตะโก (ในสมัยนั้น) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับสมณะฉายาว่า ปาสาทิโก ครั้นอุปสมบทแล้ว อยู่จำพรรษาที่วัดตะโกเรื่อยมา ได้ศึกษาด้านคันถธุระพระปริยัติธรรมเพิ่มเติม จนสอบได้นักธรรมชั้นโทใน พ.ศ.2485 และสอบได้นักธรรมชั้นเอกใน พ.ศ.2487
หลังจากจบนักธรรมเอกแล้ว ท่านคิดว่าเพียงพอสำหรับด้านคันถธุระแล้ว เพราะพระที่อยู่ตามชนบทบ้านนอกพอที่จะรักษาพระธรรมวินัยเพศพรหมจรรย์ให้ รุ่งเรืองและเป็นนำสอนชาวบ้านได้ก็เป็นที่เพียงพอแล้ว หลังจากนั้นท่านก็หันมาสนใจทางด้านวิปัสสนาธุระโดยมองเห็นประโยชน์ในด้านการปฏิบัติ เมื่อเป็นเช่นนั้นก็ออกเดินทางไปฝากตัวเป็นศิษย์ศึกษาเรียนพระกรรมฐานกับครูบาอาจารย์เก่งๆ ในยุคนั้น อาทิเช่น
๑.หลวงพ่อชื่น วัดภาชี อยุธยา เชี่ยวชาญด้านวิปัสนากรรมฐานที่สืบทอดพุทธาคมมาจากหลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ เป็นที่รู้จักกันดีในยุคนั้นซึ่งมีศิษย์ที่ศึกษาวิชาจากหลวงพ่อกลั่นมากมาย อาทิเช่น หลวงพ่อใหญ่ หลวงพ่ออั้น หลวงพ่อเภา หลวงพ่อศรี หลวงปู่ดู่ และหลวงพ่อชื่น ศิษย์หลวงพ่อกลั่นที่กล่าวถึงทั้งหมดนี้ปัจจุบันได้มรณะภาพไปหมดแล้วซึ่งแต่ ละองค์ล้วนมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี
๒.หลวงพ่อแจ่ม วัดแดงเหนือ เชี่ยวชาญเวทมนต์คาถาอาคม ได้ถ่ายทอดสรรพวิชาให้หลวงพ่อรวยทุกอย่าง อาศัยความขยันหมั่นเพียรและความตั้งใจมุ่งมั่นจึงก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว จนวิชาที่เล่าเรียนปฏิบัติเข้มขลังในพลังแห่งวิทยาคมสูงส่ง
หลวงพ่อรวย วัดตะโก ท่านเป็นผู้ไฝ่ในการศึกษา และมีความขยันมั่นเพียร จึงสามารถสำเร็จในสรรพศาสตร์ทั้งหลายเหล่านั้น และนำมาช่วยเหลือสงเคราะห์ศรัทธาญาติโยมผู้ได้รับความเดือดร้อนด้วยความเมตตา จึงเป็นที่รัก เคารพ และศรัทธาของสานุศิษย์ยิ่ง ด้านการพัฒนาและการพระศาสนา ท่านเป็นผู้เอาใจใส่ในกิจแห่งสงฆ์ จนพระอารามรุ่งเรืองดังปรากฏให้เห็นในปัจจุบัน ด้วยคุณูประการต่างๆดังกล่าว จึงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูชั้นสัญญาบัตร ที่ราชทินนาม พระครูสุนทรธรรมนิวิฐ
หลวงพ่อรวย ได้มรณะภาพลงอย่างสงบเมื่อเวลา 21.00น. ของวันที่ 19 ก.ค. ที่ผ่านมา ที่โรงพยาบาลวิชัยยุทธ สิริอายุรวม 95 ปี 76 พรรษา และหลังจากสังขารหลวงพ่อมรณภาพมา 100 วัน สังขารหลวงพ่อไม่เน่าไม่เปื่อยจึงทำให้ คณะสงฆ์และศิษยานุศิษย์ พร้อมใจกันเชิญสรีระสังขารของหลวงพ่อรวยบรรจุใส่โลงแก้วเพื่อให้ศิษยานุศิษย์ และพุทธศาสนิกชนได้กราบสักการะ ณ พระมหาธาตุเจดีย์ปาสาทิโก วัดตะโกต่อไป ทำให้เหล่าศิษยานุศิษย์เชื่อว่า การที่หลวงพ่อรวยสรีระสังขารไม่เน่าไม่เปื่อยมาจากการเป็นพระปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ และเป็นสายกรรมฐานที่ปฏิบัติมาอย่างยาวนาน จนกระทั่งได้รับการยกย่องว่า เป็นพระกรรมฐานและเป็นพระเกจิชื่อดังรูปหนึ่งของประเทศ
ในส่วนวัตถุมงคล ท่านเริ่มสร้างมาก่อน ปีพ.ศ.2512 ซึ่งถือเป็นวัตถุมงคลยุคต้นของท่าน และนับแต่ปีพ.ศ.2513 เป็นต้นมา วัตถุมงคลของท่านมีการจัดสร้างหลายครั้ง หลายวาระ และหลายรุ่น ปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในหลายๆรุ่น มีค่านิยมสูง ด้วยปรากฏประสบการณ์มาแล้วกับผู้อาราธนาติดตัว
如果提到Wat Tako的Luang Pho Rich,它可以被視為大城府地區的另一位著名僧侶。它受到中部地區人民的尊重。以及泰國各地非常尊重信仰的地區因為他被認為是一個非常慈悲的和尚有謙虛的存在包括美麗的聖禮值得深信不疑
Chatpoom Luang Por Rich的歷史出生於1921年,是同腸8個兄弟姐妹(3男5女)的第6個孩子,Khun Yom的父親名叫Mee Yom,母親的名字是Sinla Sornrit(這個Sornrit家族的祖先) .是大城府帕奇縣 Don Ya Nang 分區 2 村 Ban Tako 的 Krung Si Satana Khon Hut 人的後裔
初級會的生活就像與農村地區的兒童一起是幫助父母從事農業事業,可以考慮這是一個稻田和水盆的城市,因為我們的祖先一直幫助飼養牛和水牛等動物。
至於教育,當你12歲時,你已經接受了初步教育。在 Wat Tako 學校,因為當時的孩子們在 Don Ya Nang 街道地區沒有公立小學。得靠僧人在寺閣上教書直到閱讀和寫作的知識知識堪比四年級,離開學校
16歲時,他在Wat Tako受戒為沙彌。與 Phra Samut Boonchuay方丈是導師在貞潔的統治下他原本打算在Kantathura領域研究佛法和律律。 (Prayatit Dharma)可以通過三等佛法的考試
當他在 1941 年左右受戒時,他在多光寺的 Phatthasima 受戒。與 Phrakhru Sunthon Thamaniwit (Luang Por Chuen) Wat Phachi 住持Phachi 區的導師是Wat Wimon Sunthon 的住持Phra Palat Choi 的導師。作為和尚和Phra Samut Boonchuay Wat Tako(當時)的住持是一座紀念碑。當他被任命時,他被授予“Pasatico”的稱號。住在多哥寺的佛教大齋期對 Kanthathura 進行了更多研究直到他於1942年考取法師,1944年考取法師
完成法師後你認為這對鄉村來說已經足夠了。因為住在農村的僧侶足以維持獨身的紀律興旺發達,能教村民就夠了。之後,他將注意力轉向內省,在實踐中看到了好處。就這樣,他作為弟子離開了自己,跟隨那個時代的好老師學習冥想,例如
1. 大城府帕奇寺的全神父專攻內觀禪修,傳承自龍波克蘭寺的內觀禪修。 Aun 神父、Phao 神父、Si 神父、杜祖父和 Chuen 神父提到這一切的龍波克蘭的弟子現在已經死了,但是他們每個人都是眾所周知的。
2. Wat Daeng Nuea 的 Luang Phor Chaem 擅長魔法咒語。把所有的科目都傳給了Luang Pho,一切都很豐富快速進步需要毅力和決心。直到所教授的科目在高等科學的力量下進行了激烈的實踐
多哥寺里奇神父,他是教育的貢獻者。並且有勤奮因此能夠在所有這些科學中取得成功並幫助支持遭受仁慈的親人的信仰因此,門徒們深受愛戴、尊重和相信。發展與宗教他關注僧侶的活動。直到寺院像今天一樣繁榮有這樣的品質故受皇恩,厚賜封號他是一名特許教務長,名為 Phra Kru Sunthon Thammaniwit。
里奇神父於 7 月 19 日 21 點在威猜尤斯里醫院安詳離世,享年 95 歲和 76 歲,在他去世 100 天后,龍婆號腐爛僧團和弟子團結起來,邀請龍波富的遺體裝入玻璃棺材中供弟子使用。佛教徒繼續在塔科寺的 Phra Mahathat Chedi Pasatiko 頂禮膜拜,使弟子們相信Luang Por 富有和身體清白的事實來自於作為一個修行良好和正確修行的比丘,並且是一個已經修行了很長時間的禪修路線。直到被認為是是一名和尚,是全國著名的和尚之一
在神聖的對象他在 1969 年前開始建造,這被認為是他早期的聖物。並且自1970年以來,他的聖物被創作了很多次,很多場合,代代相傳。目前,它已經在很多代人中非常流行,具有很高的價值。